ระยะ จุดเด่นหลัก ผลลัพธ์ • รวมกิจการทั้งจากการมีงบดุลที่เหมาะสม และการรับรู้ผลประโยชน์ด้านต้นทุน การให้ความช่วยเหลือกับลูกค้าที่ ได้รับผลกระทบจากโควิดให้สามารถ ด� ำเนินธุรกิจต่อไปได้ท่ามกลาง สถานการณ์ที่ยากล� ำบาก • • • การขยายฐานลูกค้าถึง 10 ล้านราย บริหารค่าใช้จ่ายและอัตราส่วนต้นทุน ต่อรายได้ให้ดียิ่งขึ้น ช่วยเหลือลูกค้าที่ขอเข้าร่วมโครงการ Debt Relief มากกว่าร้อยละ 98 6. การสร้างการเปลี่ยนแปลง ทางด้านธุรกิจ 2565 เป็นต้นไป • • • ใช้ประโยชน์สูงสุดจากฐานลูกค้าธนาคาร หลังการควบรวมกิจการผ่านแนวคิด ชีวิตทางการเงินที่ดีขึ้น ให้บริการด้าน การธนาคารและเหนือกว่าความต้องการ ด้านการธนาคารของลูกค้า และกลายเป็น แพลตฟอร์มดิจิทัลชั้นน� ำ พัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการด้านดิจิทัล เต็มรูปแบบภายใต้โมเดล “Digital First” ปรับโครงสร้างธุรกิจเพื่อเพิ่มมูลค่าและ สร้างผลตอบแทนสูงสุด • • • กระชับความสัมพันธ์กับลูกค้าด้วย ผลิตภัณฑ์ที่หลากหลาย และการมีส่วน ร่วมกับตลอดช่วงชีวิตที่ส� ำคัญของลูกค้า (life-stage and life-event) ช่วยให้ลูกค้าได้รับประสบการณ์ที่ดีขึ้น มีความคล่องตัวที่สูงขึ้น และต้นทุน ในการบริการที่ลดลง เพิ่มการเติบโตในสินเชื่อที่มีหลักประกัน และปรับปรุงประสิทธิภาพของการบริหาร จัดการสินทรัพย์และหนี้สิน การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่ส� ำคัญในปี 2564 • การโอนกิจการทั้งหมดระหว่างธนาคารทหารไทยและธนาคารธนชาตเสร็จสิ้นในวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 ตามแผน โดยผู้ถือหุ้นทีเอ็มบีอนุมัติให้เปลี่ยนชื่อธนาคารใหม่ภายหลังการควบรวมกิจการเป็น “ธนาคารทีเอ็มบีธนชาต” หรือ “ทีทีบี” ชื่อใหม่สะท้อนให้เห็นถึงจุดแข็งของทั้งสองธนาคารที่มีความมุ่งมั่นในการสร้างความเป็นอยู่ทางการเงิน ที่ดีขึ้นส� ำหรับคนไทย จากความส� ำเร็จในการควบรวมกิจการ ธนาคารแห่งประเทศไทยได้ประกาศให้ทีเอ็มบีธนชาต เป็นหนึ่งในกลุ่มธนาคารที่มีความส� ำคัญในประเทศ D-SIBs หรือธนาคารพาณิชย์ที่มีความส� ำคัญต่อความมั่นคง ทางการเงินและระบบเศรษฐกิจของประเทศ • หลังจากธนาคารได้เข้าเป็นหนึ่งในกลุ่มธนาคาร D-SIBs ซึ่งสะท้อนถึงศักยภาพและความมั่นคงของธนาคาร หลังการควบรวมกิจการ ฟิทช์เรทติ้งส์ได้ปรับเรตติ้งผู้ออกตราสารระยะยาว (IDR) ของธนาคารเป็น ‘BBB’ จาก ‘BBB-’ และอันดับเครดิตระยะยาวของประเทศเป็น ‘AA+(tha)’ จาก ‘AA-(tha)’ Outlook มีเสถียรภาพ และยังได้อัพเกรด IDR ระยะสั้นเป็น ‘F2’ จาก ‘F3’ และคงอันดับเครดิตระยะสั้นของประเทศที่ ‘F1+(tha)’ การอัพเกรดของ Fitch สนับสนุนโดยการประเมินความส� ำคัญเชิงระบบของธนาคาร และโอกาสที่จะได้รับ การสนับสนุนพิเศษจากทางการหากมีความจ� ำเป็น หลังจากการรวมธนาคารกับธนาคารธนชาต จ� ำกัด (มหาชน) เสร็จสิ้น และจากการประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทยว่า ทีเอ็มบีธนชาตเป็นธนาคารที่มีความส� ำคัญเชิงระบบ ในประเทศ (D-SIBs) 54 ธนาคารทหารไทยธนชาต จำ �กัด (มหาชน)
RkJQdWJsaXNoZXIy ODEyMzQ3